แบบประเมินความตระหนักรู้ด้านการบริโภคเกลือและโซเดียมของประชาชน

ภายใต้โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังและลดบริโภคเกลือและโซเดียมระดับจังหวัด

ข้อมูลส่วนบุคคล

เพศ


อายุ


โรคประจำตัว เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ


ระดับการศึกษาสูงสุด


โปรดตอบคำถามต่อไปนี้ให้ตรงกับความเป็นจริงของท่านมากที่สุด

ความรู้เกี่ยวกับปริมาณการบริโภคเกลือและโซเดียม

1.การบริโภคเกลือในปริมาณมากทำให้เกิดปัญหาสุขภาพได้ ใช่หรือไม่


2.คนทั่วไปไม่ควรบริโภคโซเดียมเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน ใช่หรือไม่


พฤติกรรมการบริโภคเกลือและโซเดียม

3. ใน 1 เดือนที่ผ่านมา คุณเลือกรับประทานอาหารต่อไปนี้บ่อยเท่าใด


ทุกครั้ง บ่อยครั้ง นานๆครั้ง ไม่เคย
3.1 รับประทานอาหารสำเร็จรูป หรือกึ่งสำเร็จรูป เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ไส้กรอก แฮม เป็นต้น
3.2 อาหารแช่แข็งในร้านสะดวกซื้อ
3.3 อาหารหมักดอง หรือ แช่น้ำเกลือ
3.4 อาหารปรุงเองที่บ้าน
3.5 อาหารสั่งหรือซื้อจากนอกบ้าน

4.มีการเติมเกลือ น้ำปลา ซอสถั่วเหลือง น้ำมันหอย ในระหว่างการปรุงอาหาร


5.มีการเติมน้ำปลาหรือซีอิ๊วบนโต๊ะอาหารอีกครั้งก่อนรับประทานบนโต๊ะอาหาร


6. มีการบริโภคอาหารประเภทที่มีเกลือในปริมาณสูงมาก เช่น ปลาเค็ม ปลาร้า อาหารหมักดอง เป็นต้น


7. คุณสั่งอาหารไม่เติมน้ำปลา หรือ ผงชูรส บ่อยแค่ไหน


8. ในแต่ละวันคุณได้พยายามจำกัดหรือลดปริมาณการบริโภคเกลือและโซเดียม


การรับรู้เกี่ยวกับปริมาณการบริโภคเกลือและโซเดียม

9.คุณตระหนักว่าการจำกัดการบริโภคโซเดียมและเกลือ มีความสำคัญมากเท่าใด


10.คุณทราบปริมาณโซเดียมหรือเกลือในอาหารที่คุณรับประทานในแต่ละวัน